วัดสำเภา
ตำบล.ศรีุภูมิ อำเภอ.เมือง จังหวัด.เชียงใหม่
1836. พระเจดีย์ แห่ง วัดสำเภา
1806. วัดสำเภา ต.ศรีุภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่
1810. WATSUMPOW
1811. WAT SUM POW
1807. วัดสำเภา
วัดสำเภา ตั้งอยู่บนถนนราชดำเนิน แต่อยู่ในเขต ต.ศรีภูมิ อยู่ตรงข้ามกันกับวัดพันอ้น แต่วัดพันอ้น อยู่ในเขต ต.พระสิงห์
1808. ถนนราชดำิเนิน ซอย.5
1809. กำแพงวัดสำเภา ด้าน ถนนราชดำิเนิน ซอย.5 หรือ ทิศตะวันออก
1812. ถนนราชดำเนิน ด้านขวามือ กำแพงสีขาว คือ วัดสำเภา ด้านซ้ายมือ กำแพงศิลาแลง คือ วัดพันอ้น
พยายามให้มีรูปของ เจ๊ปุ๊ย เพื่อความสวยงาม "ผมชอบ เลข 7" ครับ
1813. ศาลาธรรมศรัทธาสามัคคี แห่ง วัดสำเภา
ปัจจุบันใช้เป็นสถานที่ให้บริการนวดโดยกลุ่มแม่บ้าน ในวันอาทิตย์จะมีผู้มาใช้บริการ "นวด" ทั้ง ตัว,ฝ่าเท้า หรือ ไหล่ เป็นต้น
สำหรับลูกค้า หรือ ประชาชนชาวเชียงใหม่ ผมคิดว่า มาวันธรรมดาจะสะดวกกว่า เพียงแต่จะไม่ได้บรรยากาศเท่ากับวันอาทิตย์ ที่มีการเปิด ถนนคนเดิน เท่านั้น
1814. พระวิหาร แห่ง วัดสำเภา กำลังอยู่ในระหว่างการ บูรณะ หรือ ซ่อมแซม
ประวัติ วัดสำเภา ภาพนี้ได้มาจาก
:กะว่ากำ แห่ง http://www.bloggang.com/viewblog.php?id=kawaka&group=15&page=2
ประวัติวัดสำเภา
สร้างขึ้นในสมัยราชวงศ์มังราย คำว่า "สำเภา" มาจากคำว่า "สะเพา"
จากคำบอกเ่ล่าของ เจ้าบัวนวล สิโรรส ว่า
มีพ่อค้าชาวเมืองระแหง (ตาก) ขึ้นมาค้าขายในเมืองเชียงใหม่ มีศรัทธาสร้าง
"สำเภาทอง" บรรจุไว้ในเจดีย์ จึงได้ชื่อว่า วัดสำเภา
พ.ศ.2362 พระญาธรรมลังกา เจ้าหลวงเชียงใหม่องค์ที่ 2 ได้มาทำบุญถาวรวัตถุ
ต่อมา เจ้าสุริยวงศ์ (คำตั๋น สิโรรส) ได้ทำนุบำรุงสืบมา
วิหารมีลายปูนปั้น เป็นศิลปล้านนาประดับหน้าบัน และ ที่ฐานชุกชีมีรูปปั้นสัตว์หิมพานต์ที่สวยงาม
1815. ศาลาธรรมศรัทธาสามัคคี แห่ง วัดสำเภา
1816. ป้ายชื่อ "วัดสำเภา" ที่สวยงาม "รอ" อยู่ใต้ ต้นโพธิ์ วัดสำเภา
1817. พระวิหาร แห่ง วัดสำเภา
1818. พระวิหาร แห่ง วัดสำเภา
1819. พระวิหาร
1820. พระอุโบสถ แห่ง วัดสำเภา
1821.
1822.
1823. พระอุโบสถ วัดสำเภา
1824. กุฏิ บัวนวล สามัคคี พ.ศ.2500
1826.กุฏิ บัวนวล สามัคคี พ.ศ.2500
1825. หอระฆัง แห่ง วัดสำเภา ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่
1827. น้ำบ่อ และ ซุ้มน้ำหม้อดิน ภายใน วัดสำเภา
ในสมัยที่ Moonfleet ยังเป็นเด็กนั้น เรามักจะดื่มน้ำ จาก "น้ำต้น" และ น้ำ จาก
"หม้อดิน" น้ำที่อยู่ภายใน น้ำต้น และ หม้อดิน จะเย็นชื่นใจทุกครั้งที่ดื่ม
และ หน้าบ้านจำนวนมากมายหลายบ้าน จะมีการตั้ง "หม้อดิน" และ มี"กระบวย" ตักน้ำไว้ สำหรับการดื่มกิน
ในยุคสมัยแห่งการเปลี่ยนแปลง "น้ำต้น" "หม้อดิน และ กระบวยตักน้ำ" ก็ได้กลายเป็นตำนานเช่นเดียวกันกับ "โทรเลข"
1828.
1829.
1830.
1831.
1832.
1833. ศาลา
1834. พระเจดีย์ แห่ง วัดสำเภา
1835. พระเจดีย์วัดสำเภา
1836. พระเจดีย์ แห่ง วัดสำเภา
1837. พระเจดีย์ แห่ง วัดสำเภา
1839. ศาลาธรรมศรัทธาสามัคคี
1840. อดีตเจ้าอาวาสวัดสำเภา องค์ที่ 8.
1841. พระเจดีย์ วัดสำเภา
1842. พระ เสื้อวัด แห่ง วัดสำเภา
1843. ประตู ทางเข้า-ทางออก วัดสำเภา ด้านทิศตะวันตก
1844. ส่วนหนึ่งของกำแพงด้านทิศตะวันตก
"ล้างหนี้ประเทศไทย สร้างรายได้ประชาชน เอาความสุขที่เคยได้รับคืนมา
พท. พรรคเพื่อไทย"
1845. กำแพง วัดสำเภา ด้านทิศตะวันตก
1846. วัดสำเภา
และ เบอร์ 7 วิภาวัลย์ (เจ๊ปุ๊ย)
1847. มุม 4 แยก วัดสำเภา และ วัดพันอ้น
1848. วัดสำเภา
1855. ร้านกาแฟ วาวี อยู่ มุมตรงกันข้ามกับวัดสำเภา
Moonfleet ได้มาเยือน วัดสำเภา ตำบล.ศรีุภูมิ อำเภอ.เมือง จังหวัด.เชียงใหม่
วันจันทร์ ที่ 21 เดือน กันยายน พ.ศ.2552
นพบุรีศรีนครพิงค์เวียงเชียงใหม่ นครแห่งชีวิตและความมั่งคั่ง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น