วัดแสนเมืองมาหลวง (หัวข่วง)
อำเภอ เมือง จังหวัด เชียงใหม่
7099. วัดแสนเมืองมาหลวง (หัวข่วง)
วัดแสนเมืองมาหลวง หรือ “วัดหัวข่วง”
ตั้งอยู่ที่ 175 ถนน พระปกเกล้า ตำบล ศรีภูมิ อำเภอ เมือง จังหวัด เชียงใหม่
7100. ถนนทางเข้า วัดแสนเมืองมาหลวง (หัวข่วง) อยู่ติดกับ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร สาขา เชียงใหม่ ถนนกว้างประมาณ 2.5 เมตร รถยนต์วิ่งสวนกันไม่ได้ โปรดขับด้วยความระมัดระวัง
7092. ธกส. สาขาเชียงใหม่
:เคียงคู่ รู่ค่า ประชาชน
7097. วัดแสนเมืองมาหลวง (หัวข่วง) ถ.พระปกเกล้า ต. ศรีภูมิ อ. เมือง จ.เชียงใหม่
:อยู่ติดด้านหลังธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธกส)
7098. หรือ ทางเข้าวัดแสนเมืองมาหลวง(หัวข่วง) อยู่ฝั่งตรงข้ามกับคุ้มแก้วพาเลช
:คุ้มแก้วพาเลช มี ขันโตกดินเนอร์:อาหารพื้นเมืองบนขันโตก พร้อมการแสดงพื้นเมืองที่สวยงาม ถ้าท่านได้มาเที่ยวหรือทำงานที่เชียงใหม่ ขอให้ได้พาเพื่อน ครอบครัว หรือ คนที่ท่านรักได้มารับประทานอาหารขันโตกที่คุ้มแก้วพาเลช เป็นประสพการณ์และความประทับใจในชีวิต
7101. วิหารวัดแสนเมืองมาหลวง(วัดหัวข่วง) ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่
7102. พระวิหาร แห่ง วัดแสนเมืองมาหลวง (วัดหัวข่วง) ด้านทิศใต้
7103. ศาลาปฏิบัติธรรม วงศ์สืบชาติ แห่ง วัดแสนเมืองมาหลวง (วัดหัวข่วง)
7104.ช้างเบื้องขวาข้างบันไดพระวิหารแห่งวัดแสนเมืองมาหลวง(วัดหัวข่วง)
7105. บันไดมรกนาค แห่ง พระวิหารวัดแสนเมืองมาหลวง (วัดหัวข่วง)
:ขอกราบอนุโมทนา คุณพ่อไพโรจน์ คุณแม่เชื้อสาย และ ด.ร. พรชัย เปี่ยมสมบูรณ์
7106. พระวิหาร แห่ง วัดแสนเมืองมาหลวง (วัดหัวข่วง)
7107.พระวิหาร แห่ง วัดแสนเมืองมาหลวง (วัดหัวข่วง) อ.เมือง จ.เชียงใหม่
7108.ประตูพระวิหาร แห่ง วัดแสนเมืองมาหลวง (วัดหัวข่วง)
7109.บานประตูพระวิหาร แห่ง วัดแสนเมืองมาหลวง (วัดหัวข่วง)
7110. มกรคายนาคเบื้องซ้าย บันไดพระวิหาร แห่ง วัดแสนเมืองมาหลวง
7111.มกรคายนาคเบื้องขวา บันไดพระวิหาร แห่ง วัดแสนเมืองมาหลวง
7112.พระวิหาร แห่ง วัดแสนเมืองมาหลวง (วัดหัวข่วง) อ.เมือง จ.เชียงใหม่
7113. หอกลองและระฆัง ตะวันออก ฝั่งทิศใต้ วัดแสนเมืองมาหลวง
7115. หอกลอง แห่ง วัดแสนเมืองมาหลวง
7116. หอกลองและระฆัง ตะวันตก ฝั่งทิศใต้
7135. หอกลองและระฆัง ตะวันตกเฉียงใต้ ของพระวิหารวัดแสนเมืองมา
7137. หอกลองด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือของพระวิหารวัดแสนเมืองมา
7139. หอกลอง แห่ง วัดแสนเมืองมา ที่สวยงาม
7140. พระพุทธรูป ไม่ทราบนาม ประดิษฐานอยู่ด้านหลังพระวิหารด้านทิศตะวันตก
7142.พระพุทธรูป ไม่ทราบนาม อยู่ด้านหลังพระวิหารด้านทิศตะวันตก
7143. เทวดาเบื้องซ้ายพระพุทธรูป อยู่ด้านหลังพระวิหารด้านทิศตะวันตก
7144.เทวดาเบื้องขวาพระพุทธรูป อยู่ด้านหลังพระวิหารด้านทิศตะวันตก
7145. พระเจดีย์ แห่ง วัดแสนเมืองมา (วัดหัวข่วง)
7117. ประตูโขง แห่ง กุฏิเจ้าอาวาส วัดแสนเมืองมาหลวง (วัดหัวข่วง)
7119.กุฏิเจ้าอาวาส วัดแสนเมืองมาหลวง (วัดหัวข่วง)
7118. ตระกูล ทรัพย์สาคร สร้างถวาย 3พฤษภาคม 2542
ขอกราบอนุโมทนาบุญ ด้วยครับ
7120. พระเจดีย์ แห่ง วัดแสนเมืองมาหลวง (วัดหัวข่วง)
: ลักษณะเป็นเจดีย์สิบสองเหลี่ยมองค์ระฆังกลม ซึ่งเป็นศิลปกรรมผสมระหว่างศิลปะเชียงแสนกับสุโขทัย
7121. พระเจดีย์วัดแสนเมืองมาหลวง ( วัดหัวข่วง )
7123.พระเจดีย์วัดแสนเมืองมาหลวง (วัด หัวข่วง )
พระเจดีย์วัดแสนเมืองมาหลวง ( วัดหัวข่วง )
พระเจดีย์นี้นับได้ว่าเป็นเจดีย์ก่ออิฐขนาดใหญ่ และมีทรวดทรงที่งดงามมากองค์หนึ่งในเมืองเชียงใหม่
ลักษณะเป็นเจดีย์สิบสองเหลี่ยมองค์ระฆังกลม เป็นแบบแผนของเจดีย์ที่นิยมสร้างกันมากในเมืองเชียงใหม่ นับตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 21 เป็นต้นมา
เช่น เจดีย์พระธาตุดอยสุเทพ เจดีย์วัดอุโมงค์ เจดีย์วัดชมพู เจดีย์ร้างวัดแสนตาห้อย เจดีย์วัดพระธาตุเสด็จ เจดีย์พระธาตุลำปางหลวง เป็นต้น
ซึ่งเป็นศิลปกรรมผสมระหว่างศิลปะเชียงแสนกับสุโขทัย ซึ่งอยู่ในรัชสมัยของพระเจ้าติโลกราชต่อพระเจ้าเมืองแก้ว ในยุคนี้พระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรืองมาก ทั้งทางสุโขทัยและอยุธยา
แต่เนื่องจากการที่พม่าตีเมืองเชียงใหม่จึงทำให้เจดีย์ได้รับความเสียหายบางส่วน เมื่อได้รับการซ่อมแซมแล้ว ทำให้ส่วนฐานนับตั้งแต่ฐานหน้ากระดานสามชั้นขึ้นไปจนถึงฐานบัวลูกแก้ว เป็นลักษณะพิเศษที่ไม่เคยพบเห็นในเจดีย์ทรงกลมทั้งแบบพื้นเมืองล้านนาและแบบเชียงใหม่
คัดลอกข้อมูลมาจาก:http://www.lannatalkkhongdee.com/templeDetail.php?id=Temp0800012
7124.ยักษ์แห่งซุ้มประตูโขงกุฏิเจ้าอาวาสวัดแสนเมืองมาหลวง
7125. ประกาศ: ห้ามแนะนำ จำหน่าย และ โฆษณาสินค้าทุกชนิด สินค้าทุกชนิดในบริเวณวัด
7126. เทวดาแห่งซุ้มประตูโขงกุฏิเจ้าอาวาสวัดแสนเมืองมาหลวง
7127.เทวดาแห่งซุ้มประตูโขงกุฏิเจ้าอาวาสวัดแสนเมืองมาหลวง
7128.
7130.
7131.
7132. พระวิหาร และ พระเจดีย์ แห่ง วัดแสนเมืองมาหลวง (วัดหัวข่วง)
7133.
7134. ยักษ์ แห่ง หอมณเฑียรธรรม วัดแสนเมืองมาหลวง (วัดหัวข่วง)
7146. หอมณเฑียรธรรม แห่ง วัดแสนเมืองมาหลวง (วัดหัวข่วง) จ.เชียงใหม่
7147.หอมณเฑียรธรรม แห่ง วัดแสนเมืองมาหลวง (วัดหัวข่วง) จ.เชียงใหม่
7148.หอมณเฑียรธรรม แห่ง วัดแสนเมืองมาหลวง (วัดหัวข่วง) จ.เชียงใหม่
7149.หอมณเฑียรธรรม แห่ง วัดแสนเมืองมาหลวง (วัดหัวข่วง) จ.เชียงใหม่
7150.หอมณเฑียรธรรม แห่ง วัดแสนเมืองมาหลวง (วัดหัวข่วง) จ.เชียงใหม่
7151.หอกลองและพระเจดีย์ แห่ง วัดแสนเมืองมาหลวง (วัดหัวข่วง)
7152. สวนหย่อม ที่สวยงาม
7153. บริเวณภายใน วัดแสนเมืองมาหลวง (วัดหัวข่วง)
7156. พระวิหาร แห่ง วัดแสนเมืองมาหลวง (วัดหัวข่วง)
7157. พระอุโบสถ และ พระวิหาร แห่ง วัดแสนเมืองมาหลวง (วัดหัวข่วง)
7159.พระอุโบสถ และ พระวิหาร แห่ง วัดแสนเมืองมาหลวง (วัดหัวข่วง)
7155.พระวิหาร แห่ง วัดแสนเมืองมาหลวง (วัดหัวข่วง)
7162. ประตู วัดแสนเมืองมาหลวง (วัดหัวข่วง) ด้านทิศตะวันออก
7154. สิงห์คู่แห่งประตูทิศตะวันออก วัดแสนเมืองมาหลวง
: ตึกฝั่งขวาทางเข้าออกของวัดแสนเมืองมาหลวง(หัวข่วง) คือ อาคารของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธกส.) สาขาเชียงใหม่
7160.ทางเข้าประตูวัดแสนเมืองมาหลวง (หัวข่วง) ด้านทิศตะวันออก
:เมื่อเดินเข้ามา ก็เรียกว่า "ทางเข้า" วัดแสนเมืองมาหลวง
เมื่อเดินกลับออกไป ก็เรียกว่า "ทางออก"จากวัดแสนเมืองมาหลวง
เมื่อเรา จุติ ลงมา ก็เรียกว่า การเกิด
และ เมื่อเราต้อง เคลื่อนย้ายเปลี่ยนภพ ก็เรียกว่า การตาย
ทางเข้าและทางออกคือทางเดียวกัน
การเกิดและการตายก็คือเส้นทางเดียวกัน
เพียงแต่ว่า เราปราถนาจะเลี้ยวไปทางซ้าย หรือ ทางขวา
ทางซ้ายและทางขวา คือ ทางไปยังสุคติภูมิ (สวรรค์) หรือ อคติภูมิ (นรก)
เลี้ยวซ้าย หรือ เลี้ยวขวา ท่านเป็นคนที่จะเลือก ซึ่งก็จะเป็นไป ตามกฏแห่งกรรม หรือ การกระทำ เพราะ พวกเราแต่ละคนต่างก็เป็นผู้ออกแบบชีวิตของตนเอง
Moonfleet ได้มาเยือน วัดแสนเมืองมาหลวง (หัวข่วง)
:วันอาทิตย์ ที่ 2 เดือน สิงหาคม พ.ศ.2552
เชียงใหม่ นครแห่งชีวิต และ ความมั่งคั่ง
"เที่ยวเชียงใหม่ ท่านสามารถ มาเที่ยวได้ทุกวัน"
พรุ่งนี้ไม่มีอะไรแน่นอน รีบบวชตอบแทนบุญคุณพ่อแม่
มหาอุปสมบทครั้งยิ่งใหญ่ เพื่อแผ่นดินไทยร่มเย็น
โครงการอุปสมบทหมู่พระสงฆ์ 100,000 รูป (หนึ่งแสนรูป) ทั่วไทย
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น