วันเสาร์ที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

049. วัดบวกครกน้อย ต.หนองป่าครั่ง อ.เมือง จ.เชียงใหม่

วัดบวกครกน้อย

เลขที่ 69 หมู่ที่ 2. ตำบล.หนองป่าครั่ง อำเภอ.เมือง จังหวัด.เชียงใหม่




1499. วิหาร แห่ง วัดบวกครกน้อย ต.หนองป่าครั่ง อ.เมือง จ.เชียงใหม่





1471. ประตู ทางเข้า-ทางออก วัดบวกครกน้อย ด้านทิศตะวันออก





1475. วิหาร แห่ง วัดบวกครกน้อย




1476. วิหารแห่งวัดบวกครกน้อย




1477. พญานาคแห่ง วิหารวัดบวกครกน้อย เบื้องซ้าย




1478. พญานาคแห่ง วิหารวัดบวกครกน้อย เบื้องขวา




1479. พญานาคา(คู่) แห่ง วิหารวัดบวกครกน้อย




1480. ประตูวิหาร วัดบวกครกน้อย




1481. พญานาคา เบื้องซ้าย แห่ง วิหารวัดบวกครก




1482. พญานาคา เบื้องขวา แห่ง วิหารวัดบวกครก




1483. 1 ในป้ายคำสอน จาก วัดบวกครกน้อย

คนใดไปเสพด้วย คนพาล
จักทุกข์ทนเนานาน เนิ่นแท้

ใครเสพท่วยทรงญาณ เปรมปราชญ์
เสวยสุขล้ำเลิศแล้ว เพราะได้สดับดี





1484. 1 ในป้ายคำสอน จาก วัดบวกครกน้อย

คนใดละพ่อ ทั้งมารดา
อันทุพพลชรา ภาพแล้ว
ขับไล่ไป่มีปรา- นีเนตร
คนดั่งนี้ฤาแคล้ว คลาดพ้นไภยัน




1473. สิงหราช หัวเสาประตู(เบื้องขวา) ด้านทิศตะวันออก วัดบวกครกน้อย




1474. สิงหราช หัวเสาประตู(เบื้องซ้าย) ด้านทิศตะวันออก วัดบวกครกน้อย




1485.

ช่วงระยะเวลานี้ ภายในวัดบวกครกมีงานก่อสร้างอยู่




1486. ศาลา





1487. ศาลา พระพิคเนศ




1488. พระพุทธรูป และ ครูบาเจ้าศรีวิชัย




1498. ครูบาศรีวิชัย




1489. หอระฆัง แห่ง วัดบวกครกน้อย




1490. สถานที่เก็บพระพุทธรูป ในระหว่างที่มีการก่อสร้างภายในวัดบวกครกน้อย





1491. พระพุทธรูป





1492. ศาล พระนเรศวรมหาราช แห่ง วัดบวกครกน้อย




1493.




1494. พระนเรศวรมหาราช ภายใน ศาลแห่งวัดบวกครกน้อย




1495. พระนเรศวรมหาราช ภายใน ศาลแห่งวัดบวกครกน้อย




1496. ศาลพระนเรศวรมหาราช แห่ง วัดบวกครกน้อย

กำลังอยู่ในระหว่างการก่อสร้าง





1497. บริเวณหน้าวิหาร แห่ง วัดบวกครกน้อย




1499. วิหาร แห่ง วัดบวกครกน้อย




1500. จิตรกรรมฝาผนังด้านนอกวิหารแห่งวัดบวกครกด้านทิศใต้




1501.




1502.





1503. พระวิหาร วัดบวกครกน้อย




1505. ห้องสมุด วัดบวกครกน้อย




1504. พระเจดีย์ แห่งวัดบวกครก อยู่ทางทิศใต้ของพระวิหาร





1506. พระเจดีย์แห่งวัดบวกครกน้อย

โปรดสังเกตว่า พระเจดีย์มีไม้ค้ำยันไว้ไม่ให้ล้ม

ได้สอบถาม ท่านผู้หนึ่งไม่ทราบนามท่านๆ แจ้งว่า พระเจดีย์นี้เป็นของเก่าอายุมากกว่า 100 ปี และ ไม่ทราบว่าจะเป็นอย่างไรระหว่าง

1. ปฏิสังขรณ์ บูรณะ หรือ ซ่อมแซม พระเจดีย์เดิม
หรือ
2. ปล่อยให้พระเจดีย์องค์เดิมล้มแล้วสร้างใหม่
เพราะ
การซ่อมจะต้องมีงบประมาณ แต่ ขณะนี้งบประมาณยังไม่มี
ถ้า พระเจดีย์องค์เดิมล้มไปแล้ว ก็คงจะต้องสร้างพระเจดีย์องค์ใหม่ และ งบประมาณก็คงจะมี แต่ ก็จะเสียดายพระเจดีย์องค์เดิม

Moonfleet มีความเห็นว่า

ท่านผู้ที่เกี่ยวข้องได้ ไม่ว่าจะเป็นส่วนราชการ สำนักงานพระพุทธศาสนา หรือ ศรัทธา ญาติ โยม ได้ช่วยกันจัดหาีงบประมาณเพื่อมาทำการบำรุง ซ่อมแซม หรือ รักษาพระเจดีย์องค์เดิมไว้ เพื่อเป็นที่กราบไหว้บูชา เป็นทางมาแห่งบุญก็ น่าจะดีกว่านะครับ ขอกราบอนุโมทนามาล่วงหน้า ณ ที่แห่งนี้




1507. พระเจดีย์ แห่ง วัดบวกครกน้อย




1508. พระเจดีย์ แห่ง วัดบวกครกน้อย





1510. พระเจดีย์ อยู่หลังพระวิหารวัดบวกครกน้อย ด้านทิศตะวันตก




1511. พระเจดีย์ อยู่หลังพระวิหารวัดบวกครกน้อย ด้านทิศตะวันตก





1509. พระอุโบสถ แห่ง วัดบวกครกน้อย





1512. พระอุโบสถ แห่ง วัดบวกครกน้อย




1513. พระอุโบสถ วัดบวกครกน้อย




1514. พระอุโบสถ วัดบวกครกน้อย




1515. นาคคู่ แห่ง วัดบวกครกน้อย




1516.





1519.




1520. จิตรกรรมฝาผนัง ผนังด้านนอกวิหารแห่งวัดบวกครกน้อย (ด้านทิศเหนือ)




1521. จิตรกรรมฝาผนัง ผนังด้านนอกวิหารแห่งวัดบวกครกน้อย (ด้านทิศเหนือ)




1522.




1523.




1524. วิหารแห่งวัดบวกครก ที่แสนจะงดงาม




1525. วิหารแห่งวัดบวกครก ที่ งดงาม




1526. วิหารแห่งวัดบวกครก ตำบล.หนองป่าครั่ง อำเภอ.เมือง จังหวัด.เชียงใหม่




1527.





1528.




1529. พระวิหาร วัดบวกครกน้อย




1530. พระวิหาร แห่ง วัดบวกครกน้อย




1532. ประวัติวัดบวกครกน้อย

ประวัติวัดบวกครกน้อย

วัดบวกครกน้อย สร้างขึ้นเมื่อประมาณปี พ.ศ. 2345 จากหลักฐานการจารึก ที่ปรากฏในคัมภีร์ใบลานเก่า

เดิมมีเนื้อที่ 4 ไร่ 3 งาน 56 ตารางวา ต่อมาขยายเพิ่มใหม่อีกประมาณ 2 ไร่ รวมทั้งหมดประมาณ 7 ไร่

ตั้งอยู่เลขที่ 69 หมู่ที่ 2 ต.หนองป่าครั่ง อ.เมือง จ.เชียงใหม่ มีชื่อเรียกทั้งหมดด้วยกัน 4 ชื่อ ตามลำดับเหตุการณ์ความเหมาะสมของสภาพสิ่งแวดล้อม ทางภูมิศาสตร์ ดังนี้

1. ชื่อ “วัดหัวดง” เพราะเป็นบริเวณป่าดงพงพี ที่อาศัยและใช้เป็นทางผ่านไปสู่ดอยสุเทพของสัตว์ป่านานาชนิด ดังที่เรียกว่า ป่าช้าง ทางเสือ

2. ชื่อ “ วัดบวกครกน้อย ” เพราะแยกออกมาสร้างใหม่ จากวัดเดิม คือ วัดบวกครกหลวง ซึ่งเป็นวัดพี่น้องกัน ตั้งอยู่ด้านละฟากทางถนนด้านทิศเหนือ คือ วัดบวกครกน้อย ด้านทิศใต้ คือวัดบวกครกหลวง โดยมีสภาพพื้นที่เป็นแอ่งลึก คล้ายก้นครก และเป็นท้องทุ่งนา กระจัดกระจายไปด้วยที่นอนพักผ่อนของวัว ควาย เรียกว่า “ปรัก” ภาษาเหนือเรียกว่า “บวก” จึงเรียกว่าบวกครก

3. ชื่อ “บวกครกน้อยริมคาว” เพราะมีแม่น้ำใหญ่ไหลผ่านผ่ากลางบริเวณหมู่บ้าน ซึ่งตั้งอยู่ริมสองฝั่งน้ำมีชื่อว่าแม่น้ำคาว ภาษาเหนือเรียกว่า “น้ำแม่คาว”

4. ชื่อ “วัดบวกครกปลายราง” เพราะมีการสร้างรางรถไฟสายเหนือ กรุงเทพ-เชียงใหม่ มาสิ้นสุดปลายทางชานชาลาใกล้วัดประมาณ 1.3 กิโลเมตร จึงนำเอาคำว่า ปลายรางมาต่อท้ายชื่อวัด

โบราณสถานมีเจดีย์องค์เดิม อายุ 200 ปี และได้สร้างเจดีย์องค์ใหม่ ครอบองค์เดิมไว้ เมื่อปี พ.ศ.2458 ศิลปะล้านนาทรงระฆังคว่ำ สกุลช่างลำพูน ศาสนสถาน ถาวรวัตถุ ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาอนุญาต สร้างพระอุโบสถในปี พ.ศ.2527 ปี พ.ศ.2536 ได้รื้อวิหารหลังเดิม และก่อสร้างวิหารหลังใหม่ เสร็จในปี พ.ศ.2544

ถาวรวัตถุภายในวัด มีศาลาการเปรียญ 2 หลัง ศาลาบาตร 1 หลัง กุฎิสงฆ์ 2 หลัง หอระฆัง 2 หลัง ศาลาพระ 1 หลัง

ด้านปกครอง ปัจจุบันพระมหาทองสุข สิริวิชโย เป็นเจ้าอาวาส มีพระสงฆ์ 5 รูป สานเณร 3 รูป

ด้านพัฒนาได้จัดซื้อที่ดิน ขยายเนื้อที่ของวัดทางด้านทิศตะวันตก จำนวน 2 ไร่ เพื่อพัฒนาเป็นสถานที่ปฏิบัติธรรม-สวนสุขภาพ และจัดตั้งพิพิธภัณฑ์ อัฐบริขาร วัตถุมงคลพระครูบาศรีวิชัย




1534.




1531. วัดบวกครกน้อย







นพบุรีศรีนครพิงค์เวียงเชียงใหม่ นครแห่งชีวิตและความมั่งคั่ง

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น