วันอังคารที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

025. วัดเจดีย์เหลี่ยม หรือ วัดกู่คำหลวง ม.1 ต.ท่าวังตาล อ.สารภี จ.เชียงใหม่

วัดเจดีย์เหลี่ยม WAT CHEDILIEM
หรือ วัดกู่คำหลวง
ม.1 ต.ท่าวังตาล อ.สารภี จ.เชียงใหม่




7933.
วัดเจดีย์เหลี่ยม หรือ วัดกู่คำหลวง






8129.

วัดเจดีย์เหลี่ยม หรือ วัดกู่คำหลวง : วิหาร อุโบสถ และ เจดีย์


ประวัติ
วัดเจดีย์เหลี่ยม
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

วัดเจดีย์เหลี่ยม หรือ วัดกู่คำ ตั้งอยู่บนนถนน สายเกาะกลาง อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 1831 ในสมัยของพระเจ้าเม็งราย หลังจากที่พระองค์ยกทัพมาตีเมืองลำพูนแล้ว ในขณะที่พระองค์ยกทัพไปสร้างเมืองใหม่ ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนืออยู่ได้ 5 ปี ต่อมาปี พ.ศ. 1820 จึงยกทัพมาสร้างเมืองใหม่ริมแม่น้ำปิง ตั้งชื่อเมืองว่า "เวียงกุมกาม" จนในปี พ.ศ. 1830 ทรงให้ช่างไปถ่ายแบบพระเจดีย์ จากวัดจามเทวีลำพูน มาเป็นต้นแบบ เพื่อนำมาสร้างสักการะ โดยสร้างเจดีย์วัดมีขนาดฐานกว้าง 8 วา 1 ศอก สูง 22 วา แต่หลังจากนั้นวัดถูกทอดทิ้ง รกร้างอยู่นานหลายร้อยปี จนเมื่อปี พ.ศ. 2451 มีคหบดีชาวพม่าคนหนึ่งได้มาเห็นเข้า เกิดศรัทธา จึงบูรณะขึ้นใหม่ โดยใช้ช่างจากพม่า ลักษณะสถาปัตยกรรมจึงมีรูปแบบศิลปะแบบพม่าแทนที่ศิลปะขอม ที่เป็นแบบดั้งเดิม[1]

Resource:http://th.wikipedia.org/wiki







7940.

วัดเจดีย์เหลี่ยม หรือ วัดกู่คำหลวง

พระ เจดีย์เหลี่ยม เป็นเจดีย์ทรงปราสาทแบบพิเศษคล้ายกับพระเจดีย์กู่กุดวัดจามเทวี ( กู่กุด ) จังหวัดลำพูน ตั้งอยู่บนพื้นฐานเขียงสีเหลี่ยมจัตุรัส ขนาดกว้างยาวด้านละ ๑๗ . ๔๕ เมตร พระเจดีย์สูง ( วัดจากพื้นดินถึงปลียอด ) ๓๐ . ๗๐ เมตร เรือนธาตุสี่เหลี่ยมซ้อนลดหลั่นขึ้นไป ๕ ชั้น แต่ละชั้นของเรือนธาตุ มีซุ้มจระนำประดิษฐานพระพุทธรูปประทับยืนด้านละ ๓ ซุ้ม รวม ๕ ชั้น ๆ ละ ๑๕ ซุ้มรวมทั้งหมด ๖๐ องค์ ต่อมาในคราวที่มีการบรูณะปฏิสังขรณ์ครั้งใหญ่โดยหลวงโยนการวิจิตรเมื่อปี พุทธศักราช ๒๔๕๑ มีการต่อสร้างซุ้มจระนำประดิษฐานพระพุทธรูปนั่งประจำทิศที่เหนือฐานเขียง ชั้นล่างอีก ๕ เป็นส่วนยอดลักษณะ เป็นทรงระฆังสี่เหลี่ยม คล้ายเรือนธาตุของพระธาตุพนมรองรับปลียอดทรงพีระมิดปลายแหลม ประดับลูกแก้วและฉัตรหลวงคันหนึ่ง

ตรง มุขทั้ง ๔ ของบริเวณเหนือชั้นลดขิงเรือนธาตุแต่ละชั้นมีสถูปจำลองขนาดเล็กตั้งมุม ๑ องค์ เรียกว่า สถูปมุม รวม ๕ ชั้น ๒๐ องค์ แต่ละองค์มีลวดลายปูนปั้นประดับแตกต่างกันไป ที่ยอดสถูปมุมประดับฉัตรน้อยทุกองค์

ที่ ช่วงกลางเหนือฐานเขียงมีซุ้มประดิษฐานพระพุทธรูปนั่งด้านละ ๑ ซุ้ม กรอบซุ้มประดับลวดลายปูนปั้นศิลปะพม่าที่ยอดซุ้มประดับฉัตรน้อยองค์หนึ่งและ ที่มุมของฐานเขียงมีสิงห์ปูนปั้นตั้งอยู่ทั้ง ๔ มุม เรียกว่า สิงห์ประจำมุข

รอบ ฐานพระเจดีย์มีลานประทักษิณกว้าง ๓ . ๔๐ เมตร ล้อมรอบด้วยกำแพงแก้ว มีประตู ทางเข้า ๒ ด้าน คือ ด้านตะวันออกและด้านทิศใต้ ประตูทางเข้ากว้าง ๑ . ๒๐ เมตร การศึกษาเปรียบเทียบรูปแบบศิลปะ สถาปัตยกรรม จากลักษณะทางสถาปัตยกรรมพระเจดีย์เหลี่ยมที่ปรากฏประกอบหลักฐานทางเอกสาร ได้แก่ ตำนานซึ่งกล่าวถึงความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมในสมัยล้านนากับวัฒนธรรมหริภุญชัย เมื่อพระยามังรายตีเมืองลำพูนได้สำเร็จก่อนสร้างเวียงเชียงใหม่ พระองค์สร้างเวียงกุมกาม จึงได้รับอิทธิพลวัฒนธรรมหริภุญชัยมาด้วย ได้แก่ ศาสนา ศิลปกรรมและสถาปัตยกรรม ตัวอย่างการรับอิทธิพลวัฒนธรรมทางด้านสถาปัตยกรรมที่เด่นชัดมากก็คือ พระเจดีย์เหลี่ยม ซึ่งมีการถ่ายแบบทางด้านรูปทรงมาจากเจดีย์กู่กุด ถึงแม้ปัจจุบันรูปแบบศิลปกรรมที่ประดับเป็นแบบศิลปะพม่าทั้งหมด เนื่องจากในการปฏิสังขรณ์สมัยหลวงโยนการวิจิตร ( หมองปันโหย่ อุปโยคิน ) พ . ศ . ๒๔๕๑ แต่การจะขุดค้นและขุดแต่งศึกษาทางโบราณคดี ได้พบหลักฐานสำคัญอย่างหนึ่งซึ่งบ่งบอกถึงรูปแบบศิลปกรรมแบบดั้งเดิมของพระ เจดีย์เหลี่ยม นั่นก็คือลวดลายปูนปั้นที่เป็นส่วนประดับกรอบซุ้มมีลดลานปูนปั้นประเภทลาย ช่อกระหนกแบบเฉพาะของล้านนา รวมทั้งหลักฐานทางด้านประติมากรรมได้แก่ ชิ้นส่วนประพักตร์ของพระพุทธรูปปูนปั้น และพระพุทธรูปในซุ้มจระนำด้านตะวันออกของพระเจดีย์เหลี่ยม ซึ่งเป็นองค์เดียวที่มีเค้าพระพักตร์คล้ายคลึงกับพระพุทธรูปที่ประดิษฐานใน ซุ้มจระนำเจดีย์กู่กุด วัดจามเทวี


Copy ข้อมูลบางส่วนมาจาก http://www.kammatan.com/board/index.php?topic=90.0






7945. ประตูทาง เข้า-ออก วัดเจดีย์เหลี่ยม ด้านทิศตะวันตก (ฝั่งแม่น้ำปิง)





7946. สิงหราชหัวเสาเบื้องซ้าย แห่ง วัดเจดีย์เหลี่ยม





7947. สิงหราชหัวเสาเบื้องขวา แห่ง วัดเจดีย์เหลี่ยม





7948. เจดีย์เหลี่ยม





7956. เจดีย์เหลี่ยม มองจากด้านทิศใต้





7961.เจดีย์เหลี่ยม มองจากด้านทิศใต้





7962.เจดีย์เหลี่ยม มองจากด้านทิศใต้





7963. เจดีย์เหลี่ยม มองจากด้านทิศตะวันออกเฉียงใต้




7964. เจดีย์เหลี่ยม มองจากด้านทิศตะวันออกเฉียงใต้





7966. เจดีย์เหลี่ยม มองจากด้านทิศตะวันออก





7967. ชื่อเสียง โด่งดัง กังวาล

แต่ ผู้เขียนอธิษฐานขอให้มี รูปสมบัติ ทรัพย์สมบัติ และ คุณสมบัติ





7968. เจดีย์เหลี่ยม มองจากด้านทิศตะวันออก





7969. เจดีย์เหลี่ยม มองจากด้านทิศตะวันออก





7970. เจดีย์เหลี่ยม มองจากด้านทิศตะวันออก






7975. เจดีย์เหลี่ยม มองจากด้านทิศตะวันออก





7976. เจดีย์เหลี่ยม มองจากด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือ






7977. เจดีย์เหลี่ยม มองจากด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือ





7979. เจดีย์เหลี่ยม มองจากด้านทิศตะวันออก





7981. เจดีย์เหลี่ยม มองจากด้านทิศเหนือ





7984. เจดีย์เหลี่ยม มองจากด้านทิศเหนือ





7985. เจดีย์เหลี่ยม มองจากด้านทิศเหนือ





7986. สีหราช มุมด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือ แห่ง เจดีย์เหลี่ยม





7987.





7988. เจดีย์เหลี่ยม มองจากด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือ





7989. เจดีย์เหลี่ยม มองจากด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือ





7990. เจดีย์เหลี่ยม มองจากด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือ





7991. เจดีย์เหลี่ยม มองจากด้านทิศตะวันตก





7992. เจดีย์เหลี่ยม มองจากด้านทิศตะวันตก






7993. เจดีย์เหลี่ยม มองจากด้านทิศตะวันตก





7994. เจดีย์เหลี่ยม มองจากด้านทิศตะวันตก





7995. เจดีย์เหลี่ยม มองจากด้านทิศตะวันตก






7997. สิงหราช มุมทิศตะวันตกเฉียงเหนือ แห่ง เจดีย์เหลี่ยม





7998. สิงหราช มุมทิศตะวันตกเฉียงใต้ แห่ง เจดีย์เหลี่ยม







7999. เจดีย์เหลี่ยม มองจากด้านทิศตะวันตก






8000. สิงหราช มุมทิศตะวันตกเฉียงเหนือ แห่ง เจดีย์เหลี่ยม




8004. สิงหราช มุมทิศตะวันตกเฉียงใต้ แห่ง เจดีย์เหลี่ยม






8018. สิงหราช มุมทิศตะวันออกเฉียงใต้ แห่ง เจดีย์เหลี่ยม







8013. เจดีย์เหลี่ยม มองจากด้านทิศใต้





8017. เจดีย์เหลี่ยม มองจากด้านทิศใต้





8021. วัดเจดีย์เหลี่ยม





8023. ประวัติย่อ เวียงกุมกาม





8024. หอพญาเม็งรายมหาราช





8025. หอพญาเม็งรายมหาราช







8026. หอพญาเม็งรายมหาราช





8027. พญาเม็งรายมหาราช






8028.
พญาเม็งรายมหาราช





8029.

คาถาองค์พ่อขุนเม็งรายมหาราช
ปฐมกษัตริย์ผู้ก่อตั้งนพบุรีศรีนครพิงค์เวียงเชียงใหม่





8030. ทางเดิน หอพญาเม็งรายมหาราช





8033. ห้องน้ำ (สุขาพิมาน) แห่ง วัดเจดีย์เหลี่ยม





8034.






8037. เข้าใจว่า เป็น กุฏิของพระ





8038. รถม้าสำหรับให้นำนักท่องเที่ยวชม "เวียงกุมกาม"





8035. รถม้า และ รถไฟฟ้า สำหรับบริการนักท่องเที่ยว เวียงกุมกาม





8036.




8032. รถม้า แห่ง เวียงกุมกาม





8039. รถม้า





8041. รถบริการ นักท่องเที่ยว เวียงกุมกาม





8043. รถบริการ นักท่องเที่ยว เวียงกุมกาม





8042. ม้า แห่ง เมืองกุมกาม

เมื่อก่อนเขาว่า "ม้าลำปาง ขุนนางเชียงใหม่ เหนื่อย สุดๆ"
มาวันนี้ก็ต้องเปลี่ยนว่า "ม้าเวียงกุมกาม และ ขุนนางเชียงใหม่ เหนื่อยสุดๆ"





8044. เอไอเอส ชวนลูกค้าเล่นน้ำสงกรานต์

และต่อไป เอไอเอส ชวนลูกค้าทานลำไยเชียงใหม่และลำพูน ด้วยหรือเปล่า





8046.




8048.




8049.





8050.





8052.





8053.









8061.





8066.





8067.





8068.





8069.





8070.




8071.วิหาร แห่ง วัดเจดีย์เหลี่ยม (วัดกู่คำหลวง)





8072. พระประธานในวิหาร แห่ง วัดเจดีย์เหลี่ยม (วัดกู่คำหลวง)





8073. พระประธานในวิหาร แห่ง วัดเจดีย์เหลี่ยม (วัดกู่คำหลวง)





8074. พระประธานในวิหาร แห่ง วัดเจดีย์เหลี่ยม (วัดกู่คำหลวง)





8075. พระประธานในวิหาร แห่ง วัดเจดีย์เหลี่ยม (วัดกู่คำหลวง)





8076.





8077.พระประธานในวิหาร แห่ง วัดเจดีย์เหลี่ยม (วัดกู่คำหลวง)





8078. พระประธานในวิหาร แห่ง วัดเจดีย์เหลี่ยม (วัดกู่คำหลวง)





8079. พระประธานในวิหาร แห่ง วัดเจดีย์เหลี่ยม (วัดกู่คำหลวง)





8095. พระประธานในวิหาร แห่ง วัดเจดีย์เหลี่ยม (วัดกู่คำหลวง)





8122. พระประธานในวิหาร แห่ง วัดเจดีย์เหลี่ยม (วัดกู่คำหลวง)






8123. ประตูแห่งโอกาส





8125. พระประธานในวิหาร แห่ง วัดเจดีย์เหลี่ยม (วัดกู่คำหลวง)





8126. ประตูแห่งวิหารวัดเจดีย์เหลี่ยม





8130.





8131. วิหาร แห่ง วัดเจดีย์เหลี่ยม





8135. อุโบสถ แห่ง วัดเจดีย์เหลี่ยม




8137. อุโบสถ แห่ง วัดเจดีย์เหลี่ยม




8138.อุโบสถ แห่ง วัดเจดีย์เหลี่ยม





8139. เรียกชื่อไม่ถูกครับ ท่านผู้ใดทราบกรุณาบอกเป็นวิทยาทานด้วยครับ





8141.





8142.





8144. อุโบสถ วัดเจดีย์เหลี่ยม





8145.





8147.





8148.






8157.





8156.





8159.





8155.





8153.





8162.






8163.





8165.





8164.





8166. วิหาร แห่ง วัดเจดีย์เหลี่ยม ด้านทิศตะวันตก





8167. ไม่ทราบนาม....






8168. ไม่ทราบชื่อ....




8170.





8169.






8171.





8172.





8173.





8174.





8176.






Moonfleet ได้มาเยือนวัดเจดีย์เหลี่ยม หรือ วัดกู่คำหลวง ม.1 ต.ท่าวังตาล อ.สารภี จ.เชียงใหม่ ในวันอาทิตย์ ที่ 9 เดือนสิงหาคม พ.ศ.2552





เชียงใหม่ นครแห่งชีวิต และ ความมั่งคั่ง

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น