วันเสาร์ที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

033. วัดเจ็ดยอด (วัดโพธารามมหาวิหาร) ต.ช้างเผือก อ.เมือง จ.เชียงใหม่

วัดเจ็ดยอด

(วัดโพธารามมหาวิหาร)

ต.ช้างเผือก อ.เมือง จ.เชียงใหม่




0011. วัดเจ็ดยอด (วัดโพธารามมหาวิหาร)

WAT JED YOD ( PHOTHARAMMAHAVIHAN)





0004. พระพุทธรูปปางลีลา






0005.พระพุทธรูปปางลีลา






0006.





0007.






0008.







0003. วิหาร พระเจ้า 700 ปี ศรีเมืองเชียงใหม่





0002. ประตูวิหารพระเจ้า 700 ปี ศรีเมืองเชียงใหม่






0001.ช่างศิลป์ หรือ สล่า กำลังวาดภาพบนผนังวิหารพระเจ้า 700 ปี ศรีเมืองเชียงใหม่






9992. วิหาร พระจ้า 700 ปี ศรีเมืองเชียงใหม่





9993.วิหาร พระจ้า 700 ปี ศรีเมืองเชียงใหม่





9995.วิหาร พระจ้า 700 ปี ศรีเมืองเชียงใหม่





9996. นาคคู่ บนราวบันไดขึ้น-ลง วิหารพระเจ้า 700 ปี ศรีเมืองเชียงใหม่




9997. พระเจ้า 700 ปี ศรีเมืองเชียงใหม่





9998. พระเจ้า 700 ปี ศรีเมืองเชียงใหม่











9999.พระเจ้า 700 ปี ศรีเมืองเชียงใหม่







9994. ประวัติพระเจ้า 700 ปี ศรีเมืองเชียงใหม่





0009. บริเวณทางเดินภายในวัด กำแพงด้านทิศใต้





0010. สระน้ำ





0012.





0013. ประตูทางเข้า-ออก ด้านทิศตะวันออก




0014.





0015. สิงหราช บน หัวเสา ด้านซ้ายของวัดเจ็ดยอด






0016. สิงหราช บน หัวเสา ด้านขวาของวัดเจ็ดยอด





0017.





0018. ทางเดินภายในวัด ที่ร่มรื่นด้วยต้นไม้




0019. บริเวณวัด มักจะมีรถตู้สำหรับรับส่งนักเรียนมาจอดรอเพื่อรับนักเรียน





0020. ประตูทางออกวัดเจ็ดยอด ด้าน ทิศตะวันออก





0021. เข้าใจว่า จะก่อสร้างเป็นวิหารเล็ก หรือ ศาลา สำหรับ "รอยพระพุทธบาท"





0022. รอยพระพุทธบาท อยู่ใกล้ประตูทางเข้าออกด้านทิศตะวันออก





0023. รอยพระพุทธบาท อยู่้ประตูทางเข้าออกด้านทิศตะวันออก







0024. อุโบสถ และ มณฑปพระแก่นจันทร์





0025. อุโบสถ และ มณฑปพระแก่นจันทร์



0028. อุโบสถ และ มณฑปพระแก่นจันทร์

พญาเมืองแก้ว โปรดให้สร้างอุโบสถขึ้นในปี พ.ศ.2054 โปรดให้อัญเชิญพระพุทธปฏิมากรแก่นจันทร์จากพะเยามาประดิษฐาน อุโบสถหลังปัจจุบันขนาดกว้าง 6 เมตร ยาว 10.55 เมตร ศิลปะล้านนา

สร้างขึ้นบนฐานเดิมของอุโบสถเก่า ซึ่งมีลานประทักษิณขนาดกว้าง 16.20 เมตร ยาว 46.65 เมตร ยกพื้นสูงล้มรอบด้วยกำแพงเตี้ยโดยรอบ มีทางขึ้นอยู่ทางข้างทิศใต้ และ ทางขึ้นหลักที่บันไดด้านหน้างด้านทิศตะวันออก

ด้านหลังอุโบสถเป็นมณฑปพระแก่นจันทร์สร้างขึ้นภายหลัง ฐานเป็นรูปสี่เหลี่ยมขนาดกว้าง 5.70 เมตร ยาว 6 เมตร ด้านบนเป็นซุ้มคูหาทะลุถึงกันทั้ง่ 4 ด้าน ภายในประดิษฐานพระแก่นจันทร์(องค์จำลอง)

สันนิฐานว่า อุโบสถหลังใหม่นี้น่าจะสร้างขึ้นเมื่อครั้งพระเจ้ากาวิละมาบูรณะปฏิสังขรณ์ขึ้นในช่วงต้นสมัยรัตนโกสินทร์





029.




030.




031.




036.





042.




032.




033. เจดีย์ ประดิษฐานพระพุทธรูป พระแก่นจันทร์ (องค์จำลอง)





034. อุโบสถ




035. มณฑปพระแก่นจันทร์สร้าง
ฐานเป็นรูปสี่เหลี่ยมขนาดกว้าง 5.70 เมตร ยาว 6 เมตร
ด้านบนเป็นซุ้มคูหาทะลุถึงกันทั้ง่ 4 ด้าน
ภายในประดิษฐานพระแก่นจันทร์(องค์จำลอง)





0037. อุโบสถ และ มณฑปพระแก่นจันทร์





0038. อุโบสถ และ มณฑปพระแก่นจันทร์




0039.อุโบสถ และ มณฑปพระแก่นจันทร์





0043. อุโบสถ และ มณฑปพระแก่นจันทร์





0044.




0045. อุโบสถ และ มณฑปพระแก่นจันทร์





0052. อุโบสถ และ มณฑปพระแก่นจันทร์





0086.อุโบสถ และ มณฑปพระแก่นจันทร์






0087. พระเจดีย์ ที่บรรจุอัฐพระเจ้าติโลกราช พ.ศ. 2030





0083. พระเจดีย์ ที่บรรจุอัฐพระเจ้าติโลกราช พ.ศ. 2030




0049. ช่องทางเดินเข้าไปยัง พระเจดีย์ ที่บรรจุอัฐพระเจ้าติโลกราช พ.ศ. 2030





0046. พระเจดีย์ ที่บรรจุอัฐพระเจ้าติโลกราช




0050. ทางเดินโดยรอบ พระเจดีย์ ที่บรรจุอัฐพระเจ้าติโลกราช

เข้าใจว่าเดิม บริเวณทางเดินนี้ คงมีต้นไม้ใหญ่ จึงทำให้บัง พระเจดีย์ ถ้ามองมาจากทาง อุโบสถ และ มณฑป พระแก่นจันทร์
(ในรูปยังมี ตอต้นไม้ปรากฏให้เห็น เพียงแต่ไม่ทราบว่าเป็นต้นไม้อะไร ?)




0051. พระเจดีย์ ที่บรรจุอัฐพระเจ้าติโลกราช






0053. พระพุทธรูปประดิษฐานที่ พระเจดีย์ที่บรรจุอัฐพระเจ้าติโลกราช ด้านทิศตะวันออก




0054.พระเจดีย์ที่บรรจุอัฐพระเจ้าติโลกราช





0055. พระเจดีย์ที่บรรจุอัฐพระเจ้าติโลกราช





0085. พระเจดีย์ที่บรรจุอัฐพระเจ้าติโลกราช มองจากด้านทิศใต้





0088.พระเจดีย์ที่บรรจุอัฐพระเจ้าติโลกราช








0092.พระเจดีย์ที่บรรจุอัฐพระเจ้าติโลกราช





0097. พระเจดีย์ที่บรรจุอัฐพระเจ้าติโลกราช





0110. พระเจดีย์ที่บรรจุอัฐพระเจ้าติโลกราช



0047. ประวัติวัดเจ็ดยอด โดยสังเขป

วัดเจ็ดยอด

วัดเจ็ดยอด หรือ วัดโพธารามมหาวิหาร ตั้งอยู่นอกเมืองเชียงใหม่ ทางด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ริมน้ำแม่ขาน นับเป็นปูชนียสถานที่สำคัญมากแห่งหนึ่งของประเทศไทย พญาติโลกราช กษัตริย์ลำดับที่ 12 (พ.ศ.1985-2030) ของแคว้นล้านนา ทรงโปรดให้สร้างขึ้นเพื่อเป็นที่จำพรรษาของ พระอุตตมะปัญญามหาเถระ เจ้าอาวาส เมื่อปี พ.ศ. 1998 พร้อมกับปลูกต้นศรีมหาโพธิ์ให้เหมือนเมื่อครั้งพระพุทธเจ้าทรงผจญมาร อีกทั้งจำลองสัตตมหาสถาน คือ สถานที่สำคัญ 7 แห่ง ที่พระพุทธเจ้าทรงประทับเสวยวิมุติสุข แห่งละ 7 วัน ก่อนการเผยแผ่ศาสนา ได้แก่ โพธิบัลลังก์ (เจดีย์เจ็ดยอดในปัจจุบัน ซึ่งถ่ายแบบศิลปะกรรมจากเจดีย์มหาโพธิวิหารพุทธคยาในประเทศอินเดีย ผนังวิหารด้านนอกประดับปูนปั้นเทพชุมนุม) อนิมิสเจดีย์ รัตนจงกรม รัตนฆรเจดีย์ ราชายตนเจดีย์ อชปาลนิโครธ และ มณฑปสระมุจจลินท์ แล้วทำการสังคยนาพระไตรปิฏกขึ้นเป็นครั้งแรกในประเทศไทย และ เป็นครั้งที่ 8 ของโลก เมื่อ พ.ศ.2020 ใช้เวลาประชุมสังคายนานาน 1 ปี โดยมีพระธรรมทินมหาเถระ สำนักวัดป่าตาลเป็นประธานฝ่ายสงฆ์ และ พญาติโลกราชเป็นประธานฝ่ายฆารวาส พระราชทานนามว่า "โพธารามมหาวิหาร" เพราะมีต้นศรีมหาโพธิและวิหารใหญ่ แต่เนื่องจากวิหารมียอดเจดีย์อยู่ 7องค์ คนทั่วไปจึงนิยมเรียกว่า "วัดเจ็ดยอด"


เมื่อพญาติโลกราชสวรรคต ในปี พ.ศ. 2030 พญายอดเชียงราย ราชนัดดาของพระองค์ทรงโปรดให้สร้างจิตกาธาน (เชิงตะกอน) เพื่อเป็นที่ถวายพระเพลิงพระศพ พร้อมกันนั้น ได้ทรงสร้างเจดีย์องค์ใหญ่บรรจุอัฐและอังคารธาตุไว้ด้วย

ต่อมาในสมัยพญาเมืองแก้ว (พ.ศ.2083-2068) ทรงบูรณะ ปฏิสังขรณ์ และ ทรงโปรดให้สร้างอุโบสถ ศาสนถานต่างๆ เหล่านี้ล้อมรอบด้วยกำแพงที่มีซุ้มประตูโขง หรือ ประตูทางเข้าหลักของวัด อยู่ทางด้านทิศตะวันออก

วัดเจ็ดยอดได้สร้างไประยะหนึ่ง กระทั่งต้นสมัยรัตนโกสินทร์ พระเจ้ากาวิละ เจ้าเมืองเชียงใหม่ (พ.ศ.2339) ได้มาฟื้นฟูบ้านเมือง และ ปฏิสังขรณ์อารามต่างๆทั่วเมืองเชียงใหม่ รวมทั้งวัดเจ็ดยอดแห่งนี้ด้วย

วัดเจ็ดยอดจึงดำรงความสำคัญในฐานะเป็นแหล่งรวมศิลปกรรมชั้นเยี่ยมที่มีประวัติศาสตร์ความเป็นมาคู่เมืองเชียงใหม่สืบมาจนถึงปัจจุบัน

กรมศิลปากรดำเนินการบูรณะและอนุรักษ์ ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2508 ครั้งที่สอง พ.ศ.2517 - 2527 และ ครั้งที่สาม พ.ศ.2545 - 2547




0048. แผนผังวัดเจ็ดยอด





0093. วิหาร แห่ง วัดเจ็ดยอด




0056. วิหาร แห่ง วัดเจ็ดยอด กำลังอยู่ในระหว่างการบูรณะปฏิสังขรณ์




0057. วิหาร แห่ง วัดเจ็ดยอด (โพธารามมหาวิหาร)




0058. พระประธาน ภายใน วิหารแห่งวัดเจ็ดยอด





0059. พระประธาน แห่ง วิหารวัดเจ็ดยอด





0060. พระประธาน แห่ง วิหาร วัด เจ็ดยอด (โพธารามมหาวิหาร)





0064. พระประธาน แห่ง วิหาร วัด เจ็ดยอด (โพธารามมหาวิหาร)





0067. พระประธาน แห่ง วิหาร วัด เจ็ดยอด (โพธารามมหาวิหาร)





0061. ภาพวาดบนฝาผนังภายในวิหารแห่งวัดเจ็ดยอด ทศพร กัณฑ์ที่ 1.





0062. ภาพวาดบนฝาผนังภายในวิหารแห่งวัดเจ็ดยอด หิมพานต์ กัณฑ์ที่ 2.





0063. ภาพวาดบนฝาผนังภายในวิหารแห่งวัดเจ็ดยอด ทานกัณฑ์ กัณฑ์ที่ 3.





0065. ภาพวาดบนฝาผนังภายในวิหารแห่งวัดเจ็ดยอด วันประเวศน์ กัณฑ์ที่ 4.





0066. นางสุชาดาถวายข้าวมธุปรายาส






0069. โปรดปัญจะวัคคีย์ 5





0070. ชูชก กัณฑ์ที่ 5.






0071. จุลพล กัณฑ์ที่ 6




0072. มหาพน กัณฑ์ที่ 7.





0073.






0074.





0075. สักกบรรพ์ กัณฑ์ที่ 10.





0076. มหาราช กัณฑ์ที่ 11.





0077. ฉกกษัตริย์ กัณฑ์ที่ 12. และ นคร กัณฑ์ที่ 13.






0078. พระเตมีย์ และ พระมหาชนก





0079. พระสุวรรณสาม และ พระเนมิราช





0080. พระมโหสถ และ พระภูริัทัต




0081. พระจันทรกุมาร และ พระพรหมนารถ






0082. พระวิฑูรบัณฑิต และ ทศพร กัณฑ์ที่ 1





00098. วิหารแห่งวัดเจ็ดยอด กำลังอยู่ในช่วงของการบูรณะปฏิสังขรณ์







0090. อนิมิสเจดีย์





0091.อนิมิสเจดีย์





0094.อนิมิสเจดีย์





0096. อนิมิสเจดีย์





101.





0095. รัตนจงกรม





0089. ่เนื่องจากวิหารมียอดเจดีย์อยู่ 7องค์ คนทั่วไปจึงนิยมเรียกว่า "วัดเจ็ดยอด"





0099. วิหารมียอดเจดีย์อยู่ 7องค์





0102. เจดีย์เจ็ดยอดในปัจจุบัน ซึ่งถ่ายแบบศิลปะกรรมจากเจดีย์มหาโพธิวิหารพุทธคยาในประเทศอินเดีย ผนังวิหารด้านนอกประดับปูนปั้นเทพชุมนุม





103. ผนังวิหารด้านนอกประดับ ปูนปั้นเทพชุมนุม





104. "ปูนปั้นเทพชุมนุม"





105. ผนังวิหารด้านนอกประดับ "ปูนปั้นเทพชุมนุม"





106. ผนังวิหารด้านนอกประดับ ปูนปั้นเทพชุมนุม





107. วิหารมียอดเจดีย์อยู่ 7องค์





0108.วิหารมียอดเจดีย์อยู่ 7องค์




0109. ผนังวิหารด้านนอกประดับ ปูนปั้นเทพชุมนุม





0113. ประตูทางเข้า วิหารที่มียอดเจดีย์อยู่ 7องค์






0114.วิหารที่มียอดเจดีย์อยู่ 7องค์ และ ผนังวิหารด้านนอกประดับ ปูนปั้นเทพชุมนุม






0116. วิหารที่มียอดเจดีย์อยู่ 7องค์ และ ผนังวิหารด้านนอกประดับ ปูนปั้นเทพชุมนุม และ พระูรูปของพระเจ้าติโลกราช





0117.เจ้าหน้าที่กำลังเตรียมพื้นที่สำหรับจัดงาน







0118. เจ้าหน้าที่กำลังเตรียมพื้นที่สำหรับงานในวันที่ 28 กันยายน พ.ศ.2552
ครั้งแรกและครั้งเดียวในประวัติศาสตร์ เททองหล่อพระเจ้าติโลกราช ครบรอบ 600 ปี ความดีราชวงค์เม็งราย ณ วัดเจ็ดยอด พระอารามหลวง
09.09 น. 28 กันยายน พ.ศ.2552




0119.ในวันที่ 28 กันยายน พ.ศ.2552
จะมีงานครั้งแรกและครั้งเดียวในประวัติศาสตร์ เททองหล่อพระเจ้าติโลกราช ครบรอบ 600 ปี ความดีราชวงค์เม็งราย
ณ วัดเจ็ดยอด พระอารามหลวง
เวลา 09.09 นาฬิกา
วันจันทร์ที่ 28 เดือน กันยายน พ.ศ. 2552




0120.





0121. พระพุทธรูป ทั้งสาม





0122. หอระฆัง และ กลอง





0123. หอระฆัง และ กลอง





0112. สำนักงาน สารสนเทศของวัดเจ็ดยอด






0124. สำนักงานวัดเจ็ดยอด





0125. เจ้าหน้าที่กำลังเตรียมพื้นที่สำหรับงานในวันที่ 28 กันยายน พ.ศ.2552





0126. กองอำนวยการ

ขอเชิญร่วมทำบุญ ครั้งแรกและครั้งเดียวในประวัติศาสตร์ เททองหล่อพระเจ้าติโลกราช ครบรอบ 600 ปี ความดีราชวงค์เม็งราย ณ วัดเจ็ดยอด พระอารามหลวง
09.09 น. 28 กันยายน พ.ศ.2552





0127. ขอเชิญร่วมทำบุญตักบาตร พระประจำวันเกิดของท่าน





0129. สาธุชนได้มาทำบุญ ไหว้พระประธานวิหารเจ็ดยอด ทำบุญเสาค้ำต้นโพธิ และ แผ่นทองสำหรับสร้างพระเจ้าติโลกราช รวมทั้งบุญอื่นๆเช่น ซื้ออิฐสำหรับปฏิสังขรณ์วัดเป็นต้น





0130. พระพุทธรูปประจำวันเกิด






0131. รตนฆรเจดีย์ และ พระประธาน แห่ง รตนฆรเจดีย์





0132. รัตนจงกรม





0133. ต้นโพธิ และ วิหารเจ็ดยอด





0134. พระประธาน แห่ง วิหารเจดีย์เจ็ดยอด




0135. สาธุชน ทำบุญเสาค้ำต้นศรีมหาโพธิ





0136. การทำบุญ คือ ทางมาแห่งบุญ





0137. เจ้าหน้าที่ำกำลังทำงานเตรียมพื้นที่ สำหรับงาน ทำบุญ ครั้งแรกและครั้งเดียวในประวัติศาสตร์ คือ งานเททองหล่อพระเจ้าติโลกราช ครบรอบ 600 ปี ความดีราชวงค์เม็งราย
ณ วัดเจ็ดยอด พระอารามหลวง
เวลา 09.09 น.
วันจันทร์ที่ 28 กันยายน พ.ศ.2552






0138. ศาลเสื้อวัด





0139. เสาค้ำต้นโพธิ




0140. กุฏิเจ้าอาวาส

สาธุชนที่ออก "รถใหม่" มักจะมาให้ ท่านเจ้าอาวาสเจิมรถใหม่เพื่อเป็นศิริมงคล





0141.





0142.





0143. พระมหาจักรพรรดิ





0144. พระคาถามหาจักรพรรดิ





0145.






0150.





0151.





0153.

ร่วมเฉลิมฉลอง 600 ปีชาตกาล พระเจ้าติโลกราช
และ เฉลิมฉลอง วัดเจ็ดยอด ต.ช้างเผือก อ.เมือง จ.เชียงใหม่





0155. ร่วมเฉลิมฉลอง 600 ปีชาตกาล พระเจ้าติโลกราช และ เฉลิมฉลอง วัดเจ็ดยอด ต.ช้างเผือก อ.เมือง จ.เชียงใหม่





0156.





0157. โรงเรียน พระปริยัติธรรม วัดเจ็ดยอด "วรรณี ยอดตระกูล"




0149. อาคาร โรงเรียน พระปริยัติธรรม วัดเจ็ดยอด "วรรณี ยอดตระกูล"






0152.





0154.





Moonfleet ได้มาเยือนวัดเจ็ดยอด (โพธารามมหาวิหาร) ตำบล ช้างเผือก อำเภอ เมือง จังหวัด เชียงใหม่
เมื่อ วันพุธ ที่ 9 เดือนกันยายน พ.ศ.2552

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น