วันเสาร์ที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

053. วัดสำเภา ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่

วัดสำเภา
ตำบล.ศรีุภูมิ อำเภอ.เมือง จังหวัด.เชียงใหม่




1836. พระเจดีย์ แห่ง วัดสำเภา





1806. วัดสำเภา ต.ศรีุภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่





1810. WATSUMPOW





1811. WAT SUM POW






1807. วัดสำเภา

วัดสำเภา ตั้งอยู่บนถนนราชดำเนิน แต่อยู่ในเขต ต.ศรีภูมิ อยู่ตรงข้ามกันกับวัดพันอ้น แต่วัดพันอ้น อยู่ในเขต ต.พระสิงห์





1808. ถนนราชดำิเนิน ซอย.5





1809. กำแพงวัดสำเภา ด้าน ถนนราชดำิเนิน ซอย.5 หรือ ทิศตะวันออก





1812. ถนนราชดำเนิน ด้านขวามือ กำแพงสีขาว คือ วัดสำเภา ด้านซ้ายมือ กำแพงศิลาแลง คือ วัดพันอ้น

พยายามให้มีรูปของ เจ๊ปุ๊ย เพื่อความสวยงาม "ผมชอบ เลข 7" ครับ





1813. ศาลาธรรมศรัทธาสามัคคี แห่ง วัดสำเภา

ปัจจุบันใช้เป็นสถานที่ให้บริการนวดโดยกลุ่มแม่บ้าน ในวันอาทิตย์จะมีผู้มาใช้บริการ "นวด" ทั้ง ตัว,ฝ่าเท้า หรือ ไหล่ เป็นต้น

สำหรับลูกค้า หรือ ประชาชนชาวเชียงใหม่ ผมคิดว่า มาวันธรรมดาจะสะดวกกว่า เพียงแต่จะไม่ได้บรรยากาศเท่ากับวันอาทิตย์ ที่มีการเปิด ถนนคนเดิน เท่านั้น





1814. พระวิหาร แห่ง วัดสำเภา กำลังอยู่ในระหว่างการ บูรณะ หรือ ซ่อมแซม





ประวัติ วัดสำเภา ภาพนี้ได้มาจาก
:กะว่ากำ แห่ง http://www.bloggang.com/viewblog.php?id=kawaka&group=15&page=2

ประวัติวัดสำเภา

สร้างขึ้นในสมัยราชวงศ์มังราย คำว่า "สำเภา" มาจากคำว่า "สะเพา"

จากคำบอกเ่ล่าของ เจ้าบัวนวล สิโรรส ว่า

มีพ่อค้าชาวเมืองระแหง (ตาก) ขึ้นมาค้าขายในเมืองเชียงใหม่ มีศรัทธาสร้าง
"สำเภาทอง" บรรจุไว้ในเจดีย์ จึงได้ชื่อว่า วัดสำเภา

พ.ศ.2362 พระญาธรรมลังกา เจ้าหลวงเชียงใหม่องค์ที่ 2 ได้มาทำบุญถาวรวัตถุ

ต่อมา เจ้าสุริยวงศ์ (คำตั๋น สิโรรส) ได้ทำนุบำรุงสืบมา

วิหารมีลายปูนปั้น เป็นศิลปล้านนาประดับหน้าบัน และ ที่ฐานชุกชีมีรูปปั้นสัตว์หิมพานต์ที่สวยงาม





1815. ศาลาธรรมศรัทธาสามัคคี แห่ง วัดสำเภา





1816. ป้ายชื่อ "วัดสำเภา" ที่สวยงาม "รอ" อยู่ใต้ ต้นโพธิ์ วัดสำเภา




1817. พระวิหาร แห่ง วัดสำเภา





1818. พระวิหาร แห่ง วัดสำเภา





1819. พระวิหาร





1820. พระอุโบสถ แห่ง วัดสำเภา





1821.





1822.




1823. พระอุโบสถ วัดสำเภา





1824. กุฏิ บัวนวล สามัคคี พ.ศ.2500




1826.กุฏิ บัวนวล สามัคคี พ.ศ.2500





1825. หอระฆัง แห่ง วัดสำเภา ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่





1827. น้ำบ่อ และ ซุ้มน้ำหม้อดิน ภายใน วัดสำเภา

ในสมัยที่ Moonfleet ยังเป็นเด็กนั้น เรามักจะดื่มน้ำ จาก "น้ำต้น" และ น้ำ จาก
"หม้อดิน" น้ำที่อยู่ภายใน น้ำต้น และ หม้อดิน จะเย็นชื่นใจทุกครั้งที่ดื่ม

และ หน้าบ้านจำนวนมากมายหลายบ้าน จะมีการตั้ง "หม้อดิน" และ มี"กระบวย" ตักน้ำไว้ สำหรับการดื่มกิน

ในยุคสมัยแห่งการเปลี่ยนแปลง "น้ำต้น" "หม้อดิน และ กระบวยตักน้ำ" ก็ได้กลายเป็นตำนานเช่นเดียวกันกับ "โทรเลข"





1828.





1829.





1830.




1831.




1832.





1833. ศาลา





1834. พระเจดีย์ แห่ง วัดสำเภา





1835. พระเจดีย์วัดสำเภา





1836. พระเจดีย์ แห่ง วัดสำเภา




1837. พระเจดีย์ แห่ง วัดสำเภา





1839. ศาลาธรรมศรัทธาสามัคคี





1840. อดีตเจ้าอาวาสวัดสำเภา องค์ที่ 8.





1841. พระเจดีย์ วัดสำเภา




1842. พระ เสื้อวัด แห่ง วัดสำเภา





1843. ประตู ทางเข้า-ทางออก วัดสำเภา ด้านทิศตะวันตก





1844. ส่วนหนึ่งของกำแพงด้านทิศตะวันตก

"ล้างหนี้ประเทศไทย สร้างรายได้ประชาชน เอาความสุขที่เคยได้รับคืนมา
พท. พรรคเพื่อไทย"






1845. กำแพง วัดสำเภา ด้านทิศตะวันตก





1846. วัดสำเภา

และ เบอร์ 7 วิภาวัลย์ (เจ๊ปุ๊ย)





1847. มุม 4 แยก วัดสำเภา และ วัดพันอ้น






1848. วัดสำเภา





1855. ร้านกาแฟ วาวี อยู่ มุมตรงกันข้ามกับวัดสำเภา





Moonfleet ได้มาเยือน วัดสำเภา ตำบล.ศรีุภูมิ อำเภอ.เมือง จังหวัด.เชียงใหม่

วันจันทร์ ที่ 21 เดือน กันยายน พ.ศ.2552




นพบุรีศรีนครพิงค์เวียงเชียงใหม่ นครแห่งชีวิตและความมั่งคั่ง


052. วัดพันอ้น ถ.ราชดำเนิน ต.พระสิงห์ อ.เมือง จ.เชียงใหม่

วัดพันอ้น
ถนนราชดำเนิน ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่






1768. พระเจดีย์สารีริกธาตุสิริรักษ์ แห่ง วัดพันอ้น







1771. พระุพุทธชินราช พระพุทธมงคลมหามุนี พระประธานพระอุโบสถวัดพันอ้น






1713. พระอุโบสถ วัดพันอ้น






1699. วัดพันอ้น ต.พระสิงห์ อ.เมือง จ.เชียงใหม่





1698. วัดพันอ้น

ณ.เวลา 12.30 น. ของ วันจันทร์ ที่ 21 เดือน กันยายน พ.ศ.2552 ยังมีนักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศมาเที่ยววัดพันอ้น ประปราย






1697. วัดพันอ้น







1700. ถนนราชดำเนิน บริเวณหน้า วัดพันอ้น






1701. ถนนราชดำเนิน บริเวณหน้าวัดพันอ้น





1702. ถนนราชดำเนิน บริเวณหน้าวัดพันอ้น

ถ้าเป็นวันอาทิตย์ ถนนแห่งนี้ก็จะกลายเป็น ศูนย์การค้า "ถนนคนเดิน" ที่มีชื่อเสียงของจังหวัดเชียงใหม่





1703. ถนนราชดำเนิน ซอย.4





1704. ถนนราชดำเนิน ซอย.4





1705. พระวิหาร แห่ง วัดพันอ้น





1709. พระวิหาร แห่ง วัดพันอ้น





1710. พระวิหาร พระเจดีย์ และ ศาลา




1711. พระวิหาร / พระอุโบสถ แห่ง วัดพันอ้น




1712. พระวิหาร แห่ง วัดพันอ้น




1713. พระวิหาร แห่ง วัดพันอ้น




1717. พระวิหาร แห่ง วัดพันอ้น





1778. พระวิหาร แห่ง วัดพันอ้น





1780. พระวิหาร แห่ง วัดพันอ้น





1782. พระวิหาร แห่ง วัดพันอ้น




1783.พระวิหาร แห่ง วัดพันอ้น





1784.พระวิหาร แห่ง วัดพันอ้น





1785. พระวิหาร แห่ง วัดพันอ้น





1771. เชิญนมัสการ พระประธานในพระอุโบสถวัดพันอ้น





1767. พระประธาน ใน พระอุโบสถ วัดพันอ้น

1. พระพุทธชินราช
2. พระพุทธมงคลมหามุนี
และ
3. ชมภาพจิตรกรรมฝาผนัง สถานที่สำคัญทางพระพุทธศาสนา ที่สวยงามที่สุดแห่งหนึ่ง





1719. วัดพันอ้น

ประวัติ วัพพันอ้น

วัดพันอ้น สร้างขึ้นเมื่อประมาณ พ.ศ. 2044 ในรัชสมัยของพระเมืองแก้วกษัตริย์ แห่ง ราชวงศ์มังราย คำว่า "พันอ้น" นั้น สันนิษฐานได้ว่าเป็นชื่อผู้สร้างวัดเพื่อถวายไว้กับพระพุทธศาสนา ผู้สร้างคงจะเป็นทหารหรือขุนนางที่มีบรรดาศักดิ์เป็น "พัน" และ มักจะนำชื่อตนเอง หรือ สถานที่บริเวณนั้นๆ เป็นชื่อของวัดที่ตนสร้างขึ้น และ คงมีนามว่า "อ้น" เมื่อสร้างวัดแห่งนี้เสร็จจึงให้มีนามว่า "วัดพันอ้น"

บริเวณที่ตั้งวัดพันอ้น เดิมมีวัดอยู่บริเวณใกล้เคียงชื่อ วัดเจดีย์ควัน อยู่ทางทิศตะวันตก แต่ละวัดมีขนาดเล็ก สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นในสมัยใกล้เคียงกัน คือ สมัยพระเมืองแก้ว ซึ่งเป็นยุคที่ล้านนามีความเจริญรุ่งเรืองด้วยศิลปวัฒนธรรม มีการสร้างวัดวาอารามขึ้นมามากมาย ในสมัยของพระองค์ ต่อมาทั้งสองวัดได้รวมเป็นวัดเดียว แต่มักเรียกง่ายๆว่า "วัดพันอ้น"





1723. พระประธาน ใน พระอุโบสถ วัดพันอ้น





1724. พระประธาน ใน พระอุโบสถวัดพันอ้น





1725. พระประธาน ใน พระอุโบสถ วัดพันอ้น




1726. พระประธาน ใน พระอุโบสถ วัดพันอ้น




1727. พระประธาน ใน พระอุโบสถ วัดพันอ้น





1728. พระประธาน ใน พระอุโบสถ วัดพันอ้น





1729. พระประธาน ใน พระอุโบสถ วัดพันอ้น




1731. พระประธาน ใน พระอุโบสถ วัดพันอ้น




1732. พระประธาน ใน พระอุโบสถ วัดพันอ้น





1733.พระประธาน ใน พระอุโบสถ วัดพันอ้น





1755. พระประธาน ใน พระอุโบสถ วัดพันอ้น





1765. พระประธาน ใน พระอุโบสถ วัดพันอ้น





1766. พระประธาน ใน พระอุโบสถ วัดพันอ้น




1767. พระประธาน ใน พระวิหาร แห่ง วัดพันอ้น





1768. พระเจดีย์สารีริกธาตุสิริรักษ์





1770. พระเจดีย์สารีริกธาตุสิริรักษ์ แห่ง วัดพันอ้น

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทาน นามเจดีย์วัดพันอ้น อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ว่า

"พระเจดีย์สารีริกธาตุสิริรักษ์ "

เมื่อวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2550




1772. พระเจดีย์สารีริกธาตุสิริรักษ์ แห่ง วัดพันอ้น





1773. พระเจดีย์สารีริกธาตุสิริรักษ์ แห่ง วัดพันอ้น





1774. พระเจดีย์สารีริกธาตุสิริรักษ์ แห่ง วัดพันอ้น





1766. พระพุทธรูป ประดิษฐานอยู่ที่ พระเจดีย์สารีริกธาตุสิริรักษ์ แห่ง วัดพันอ้น ด้านทิศตะวันออก





1777. คำไหว้ พระเจดีย์สารีริกธาตุสิริรักษ์





1786. พระเจดีย์สารีริกธาตุสิริรักษ์ แห่ง วัดพันอ้น





1793. พระเจดีย์สารีริกธาตุสิริรักษ์ แห่ง วัดพันอ้น





1798. พระพุทธรูป ประดิษฐานที่ พระเจดีย์สารีริกธาตุสิริรักษ์ แห่ง วัดพันอ้น ด้านทิศตะวันตก





1799. พระเจดีย์สารีริกธาตุสิริรักษ์ แห่ง วัดพันอ้น





1800. พระเจดีย์สารีริกธาตุสิริรักษ์ แห่ง วัดพันอ้น





1801. พระเจดีย์สารีริกธาตุสิริรักษ์





1803. พระเจดีย์สารีริกธาตุสิริรักษ์ แห่ง วัดพันอ้น





1738. เทวดา ผู้รักษาประตูพระวิหารแห่งวัดพันอ้น


ชมภาพจิตรกรรมฝาผนัง สถานที่สำคัญทางพระพุทธศาสนา ที่สวยงามที่สุดแห่งหนึ่ง ภายในพระอุโบสถ วัดพันอ้น ต.พระสิงห์ อ.เมือง จ.เชียงใหม่





1764. คุณแม่วันดี จารุจินดา อุบาสีกาผู้อุปถัมภ์บำรุงวัดพันอ้น





1739. สถานที่พระพุทธเจ้าแสดงยมกปาฎิหาริย์ ปราบพวกเดียรถีย์






1740. พระคันธกุฏี ของพระพุทธเจ้า ในวัดเชตวันมหาวิหาร เมืองสาวัตถี




1743. พระพุทธรูปปางไสยาสน์ ที่เมืองกุสินารา





1744. กุสินารา สถานที่พระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธ์ปรินิพพาน






1745. มกุฏพันธนเจดีย์ สถานที่ถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระ





1746. ซากปรักหักพัง มหาวิทยาลัยนาลันทาซึ่งถูกมุสลิมเผาทำลาย
เมื่อ พ.ศ.1700





1747. ประชาชนชาวอินเดีย พากันมา อาบน้ำ ซักผ้า ในแม่น้ำคงคา
เพื่อลอยบาป





1748. ล้อเกวียนยังคงปรากฏให้เห็น และ ยังใช้บริการอยู่ ในประเทศอินเดีย




1749. สถานที่เผาศพ ริมฝั่งแม่น้ำคงคา





1754. ลุมพินีวัน สถานที่ประสูติของเจ้าชายสิทธัตถะ





1756. แม่น้ำเนรัญชรา สถานที่เจ้าชายสิทธัตถะ อธิษฐานจิตให้ถาดทองลอยทวนน้ำ





1757. ภูเขาดงคสิริ สถานที่เจ้าชายสิทธัตถะบำเพ็ญทุกกรกริยา




1758. เจดีย์พุทธคยา สถานที่พระพุทธเจ้าทรงตรัสรู้ ณ ใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ์ ริมฝั่งแม่น้ำเนรัญชรา




1759. เจาวคันธีสถูป สถานที่พบปัญจวัคคีย์ ก่อนแสดงปฐมเทศนา





1760. ธัมมิกสถูป สถานที่แสดงธรรมจักรกัปปวัตตนสูตร





1761. พระคันธกุฏี ของพระพุทธเจ้า บนยอดเขาคิชฌกุฏ





1762. ถ้ำสุกรบาตา สถานที่พระสารีบุตรฟังธรรมแล้วบรรลุพระอรหันต์




1763. บ้านมารดาของพระองคุลีมาร





1751. พระครูมหาวิกรม อดีตเจ้าอาวาสวัดพันอ้น พ.ศ.2443 - 2485





1753. พระครูศรีปริยัติตยานุรักษ์ อดีตเจ้าอาวาสวัดพันอ้น พ.ศ.2485 - 2525





1752. พลตรีเจ้าแก้วนวรัฐ


ท่านสามารถชมภาพเหล่านี้ได้ใน พระอุโบสถ วัดพันอ้น ถนนราชดำเนิน
หรือ ถ้าหากวันใดก็ตามท่านได้เดินทางมาเที่ยวถนนคนเดินวันอาทิตย์ จังหวัดเชียงใหม่ ก็แวะเข้าไปชมได้นะครับ





1708. ศาลา พระเจ้าทันใจ และ ครูบาศรีวิชัย




1718. เชิญสักการะบูชา พระเจ้าทันใจ และ ครูบาศรีวิชัย




1730. ประตูแห่งโอกาส แห่ง พระอุโบสถ / พระวิหาร แห่งวัดพันอ้น





1734. การจัดโต๊ะหมู่บูชา




1735. การจัดโต๊ะ 13





1736. การจัดโต๊ะหมู่ 9





1737. การจัดโต๊ะหมู่บูชา





1750.

ท่านผู้รู้กรุณาให้ความรู้ด้วยว่า เรียกว่าอะไร และ มีวัตถุประสงค์เพื่ออะไรเอ่ย ?





1779. บริเวณที่นั่งด้าน ทิศใต้ ของ พระอุโบสถ / พระวิหาร





1781. กุฏิเจ้าอาวาส

มีความสะอาด และ สงบ มากครับ





1787. บริเวณวัด สะอาด สงบ น่ารื่นรมย์ มากๆๆ

ประตูสีส้มนั้น คือ ประตูทางเข้า-ออก ด้านทิศตะวันตก
และ ด้านซ้ายมือคือห้องสุขาพิมาน ครับ

(ห้องสุขาของวัดต่างๆ บนถนนราชมรรคา และ ถนนพระปกเกล้า เป็นสถานที่รองรับความทุกข์และให้ความสุข (สุขา) สำหรับประชาชนที่มาเที่ยวชมถนนคนเดินวันอาทิตย์ของจังหวัดเชียงใหม่)





1788.




1789.





1790.





1791.

เข้าใจว่า เป็นพิพิธภัณฑ์วัดพันอ้น แต่วันนี้ปิด ไว้โอกาสหน้าจะเข้าไปศึกษาดูว่า มีอะไรบ้างในพิพิธภัณฑ์แห่งนี้ นะครับ







1792.พระุพุทธชินราช และ พระพุทธรูปเก้าตื้อ (จำลอง) ใต้ ต้นโพธิ์ วัดพันอ้น





1794. บริเวณที่นั่งอันร่มรื่น สะอาด และ ร่มเย็นแห่งพระพุทธธรรม

ถ้าในวันอาทิตย์ มีงานถนนคนเดิน จะมีผู้ประกอบการค้าและประชาชนจำนวนมากมายมาใช้เป็นที่นั่ง รับประทานอาหาร ณ ที่แห่งนี้

แผ่นกระดาษ ที่ติดอยู่บนโต็ะ มีข้อความดังนี้







1716. ในหมู่มนุษย์ ผู้ที่ฝึกตนดีแล้ว เป็นผู้ประเสริฐ





1795. บริเวณที่นั่งภายในวัด ร่มเย็น ร่มรื่น

มักจะเห็นชาวต่างประเทศมานั่งพักผ่อน และ อ่านหนังสือด้วยเสมอ





1797. พระพุทธรูปเก้าตื้อ (จำลอง) ใต้ ต้นโพธิ์ วัดพันอ้น





1804. พิพิธภัณฑ์ วัดพันอ้น วันนี้ปิดครับ





1805. ชาวต่างประเทศ นั่งอ่านหนังสือ (นำเที่ยวเชียงใหม่)


บริเวณหน้าวัดพันอ้น มีอะไรบ้างเอ่ย ?




1707. ฝั่งตรงข้ามกับ วัดพันอ้น คือ AUA

ในสมัย Moonfleet เป็นเด็กสถานที่แห่งนี้ คือ สำนักข่าวสารอเมริกัน ที่นี้มีห้องสมุดที่ดี และ มักจะมีการแสดงคอนเสิร์ต หรือ ฉายหนัง บ่อยครั้งที่ได้มาชม
ต้องขอขอบคุณ สำนักข่าวสารอเมริกันที่ได้ให้โอกาสเด็กท้องถิ่นได้สัมผัสในสิ่งที่ดีๆ หลายๆ อย่าง





1706. โรงเรียนสอนภาษาสมาคมนักเรียนเก่าสหรัฐ (A.U.A)






1849. ศิลาแลง ก่อกำแพง แข็งแรงดี...กำแพงวัดพันอ้น ด้านทิศตะวันตก




Moonfleet ได้มาเยือน วัดพันอ้น ถนนราชดำเนิน ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่

วันจันทร์ ที่่ 21 เดือน กันยายน พ.ศ.2552





นพบุรีศรีนครพิงค์เวียงเชียงใหม่ นครแห่งชีวิตและความมั่งคั่ง